Tung Khempila on Nostr: หลักการมองเศรษฐศาสตร์ ของ Austrians ...
หลักการมองเศรษฐศาสตร์ ของ Austrians Economic
จริงหลักการ ในการใช้การวิเคราะห์ของ Mises นั้นน่าสนใจมากคือเรื่องของ praxeology(Human Action) การกระทำของมนุษย์ซึ่งบ่งบอกถึงการนำไปสู่ Axioms(สัจพจน์) ซึ่งสิ่งเหล่านี้ไม่ใช่การมองมนุษย์ในเชิงการมีเหตุและผลเชิงเศรษฐกิจ แต่เป็นปัจเจกต่างหากที่ไร้เหตุผล
Mises ใช้หลักการและแนวคิดที่มองมนุษย์ที่กำลังก้าวเข้าสู่ยุคเสรีภาพนิยม เพื่อต่อต้านอำนาจของการกีดกันการค้า จากความคิด โดยบอกได้ว่าตัวของระบบ บางระบบมันนำไปสู่เผด็จการและลดทอนคุณค่าของเสรีภาพในด้านปัจเจก
ผมขอพูดเรื่อง Axioms นิดนึงว่าเวลาที่ผมคุยเรื่องศาสนาผมถึงค่อนข้างเกลียดพวก รักธรรมชาติ โลกสวย มองนั่นมองนี่คือสิ่งสวยงาม ปล่อยวางจิตใจ โดยมองว่า ธรรมะ คือสิ่งที่เป็นอยู่ ตั้งอยู่และดับไป ซึ่งไอ้ความเป็นการตั้งอยู่และดับไปนี่ ไม่ได้ช่วยเพิ่มคุณค่าแถมเป็นการลดทอนคุณค่า ของสภาวะทางความเป็น จริงๆลงไปด้วย
ใน Narrative หรือ Perspective ที่ดูใหม่ดูสวยและดีงาม มันยังข้ามสัจจพจน์ไปไม่ได้ ดังนั้น มันไม่สามารถตอบคำถามแห่งความเป็นจริงทางสัจพจน์ได้ ผมยกตัวอย่างว่า หากเราเติบโตมาในการมองว่าทะเลกว้างกว่ากว่าผืนแผ่นดิน นั้นคือสัจพจน์ที่เราพิสูจได้ พวกเค้ากลับกรอกพูดว่า น้ำทะเลสีฟ้า ก็แค่ปล่อยวาง เห๋นสิ่งใดเกิดสิ่งใดก็แค่มองมันให้ลึกลงไป
โอ้ การให้อภัย สิ่งประเสริฐ ศีลธรรมอันดีงาม ท่านผู้ฉลาดในอุมคติมิได้หยั่งรู้ถึงความลึกซึ้ง เพียงแค่เห็นแต่ภาพภายนอก และ สิ่งที่ดำเนินอยู่ มิใช่การดำรงค์อยู่
ดังนั้นหัวใจของพวกท่านจึงไร้ซึ้ง ซึ่งคุณค่าของความเป็น
ศีลธรรมมิได้กำเนิดถึงสิ่งสวยงาม และการมองโลกตามธรรมชาติ มันแค่ศีลธรรมเท่านั้นที่ท่านมองเห็น
จริงหลักการ ในการใช้การวิเคราะห์ของ Mises นั้นน่าสนใจมากคือเรื่องของ praxeology(Human Action) การกระทำของมนุษย์ซึ่งบ่งบอกถึงการนำไปสู่ Axioms(สัจพจน์) ซึ่งสิ่งเหล่านี้ไม่ใช่การมองมนุษย์ในเชิงการมีเหตุและผลเชิงเศรษฐกิจ แต่เป็นปัจเจกต่างหากที่ไร้เหตุผล
Mises ใช้หลักการและแนวคิดที่มองมนุษย์ที่กำลังก้าวเข้าสู่ยุคเสรีภาพนิยม เพื่อต่อต้านอำนาจของการกีดกันการค้า จากความคิด โดยบอกได้ว่าตัวของระบบ บางระบบมันนำไปสู่เผด็จการและลดทอนคุณค่าของเสรีภาพในด้านปัจเจก
ผมขอพูดเรื่อง Axioms นิดนึงว่าเวลาที่ผมคุยเรื่องศาสนาผมถึงค่อนข้างเกลียดพวก รักธรรมชาติ โลกสวย มองนั่นมองนี่คือสิ่งสวยงาม ปล่อยวางจิตใจ โดยมองว่า ธรรมะ คือสิ่งที่เป็นอยู่ ตั้งอยู่และดับไป ซึ่งไอ้ความเป็นการตั้งอยู่และดับไปนี่ ไม่ได้ช่วยเพิ่มคุณค่าแถมเป็นการลดทอนคุณค่า ของสภาวะทางความเป็น จริงๆลงไปด้วย
ใน Narrative หรือ Perspective ที่ดูใหม่ดูสวยและดีงาม มันยังข้ามสัจจพจน์ไปไม่ได้ ดังนั้น มันไม่สามารถตอบคำถามแห่งความเป็นจริงทางสัจพจน์ได้ ผมยกตัวอย่างว่า หากเราเติบโตมาในการมองว่าทะเลกว้างกว่ากว่าผืนแผ่นดิน นั้นคือสัจพจน์ที่เราพิสูจได้ พวกเค้ากลับกรอกพูดว่า น้ำทะเลสีฟ้า ก็แค่ปล่อยวาง เห๋นสิ่งใดเกิดสิ่งใดก็แค่มองมันให้ลึกลงไป
โอ้ การให้อภัย สิ่งประเสริฐ ศีลธรรมอันดีงาม ท่านผู้ฉลาดในอุมคติมิได้หยั่งรู้ถึงความลึกซึ้ง เพียงแค่เห็นแต่ภาพภายนอก และ สิ่งที่ดำเนินอยู่ มิใช่การดำรงค์อยู่
ดังนั้นหัวใจของพวกท่านจึงไร้ซึ้ง ซึ่งคุณค่าของความเป็น
ศีลธรรมมิได้กำเนิดถึงสิ่งสวยงาม และการมองโลกตามธรรมชาติ มันแค่ศีลธรรมเท่านั้นที่ท่านมองเห็น