LearnBN on Nostr: Bitcoin Transaction Structure ...
Bitcoin Transaction Structure
ธุรกรรมของบิตคอยน์คือสิ่งที่เกิดขึ้นทุกครั้งที่เราทำการส่งบิตคอยน์ ไม่ว่าจะส่งไปให้คนอื่น หรือแค่ทำสังคายนา utxo ของตัวเองก็ตาม ถ้าให้ว่ากันง่าย ๆ จริง ๆ แล้ว ธุรกรรมของบิตคอยน์ก็แค่ชุดข้อมูลจำนวนหนึ่งที่เอาไว้แค่ล๊อคบิตคอยน์และปลดล๊อคบิตคอยน์ โดยในธุรกรรมจะแบ่งส่วนหลัก ๆ 2 part คือ ขาเข้า(input): เลือกบิตคอยน์ที่เราต้องการปลดล๊อค, ขาออก(output): เอาบิตคอยน์จาก input ไปล๊อคไว้ที่ไหนต่อ และแน่นอนว่าในแต่ละธุรกรรมนั้นจำนวน input และ output นั้นสามารถมีได้มากกว่า 1
โอเคทีนี้เรามาลองดูตัวอย่าง transaction กัน
(ตัวอย่างจาก 1de09872f8726ab057e8b116faf55d0e502acbe8ff94b8025a40105a85218140 // Height 114,932)
tx data: 0100000001c3756a5279ed61735f5ab085f6e10b3f36423020cd4746876dd353ec610cf52c000000008b4830450221008c5730e8dd9509275ab6b8172c9dcfb74b98c855b328cce8b539701755875a53022055caafcff30d19e5fa28b671a37f00704ef8daac0ef06ba35696650850b820bb01410456ee2d5b710bce0e7ce5fd15c47c4021495ad9109a544ffcf7ecd2b049fe98f168ba973c161fa3cdffb1df4d0f208a576a45dea6cbc2b20a48cfc0a588a5b2afffffffff020014df200f0000001976a914ead1471151871931cfe3ed41beb99662f4248d1288ac40420f00000000001976a9146abb64c4751ede732ba3a584de223dbd8989531288ac00000000
ทีนี้เรามาลองชำแหละธุรกรรมนี้กัน ในธุรกรรมนี้มีส่วนประกอบดังนี้: version, input count, input data, output count, output data, และ time lock ดูข้อความด้านล่างนี้ประกอบเอานะครับ
version(4 byte): 01000000
input count: 01 แปลว่าธุรกรรมนี้มี 1 input
input data: ในส่วนนี้แบ่งเป็น 5 ส่วนของแต่ละ input ดังนี้
TXID(32 byte):c3756a5279ed61735f5ab085f6e10b3f36423020cd4746876dd353ec610cf52c
VOUT(4 byte):00000000
ScriptSig Size:8b
ScriptSig:4830450221008c5730e8dd9509275ab6b8172c9dcfb74b98c855b328cce8b539701755875a53022055caafcff30d19e5fa28b671a37f00704ef8daac0ef06ba35696650850b820bb01410456ee2d5b710bce0e7ce5fd15c47c4021495ad9109a544ffcf7ecd2b049fe98f168ba973c161fa3cdffb1df4d0f208a576a45dea6cbc2b20a48cfc0a588a5b2af
* ตรงนี้มันคือ OP_PUSHBYTES_72 กับ OP_PUSHBYTES_65 ไว้เขียนวันหลังนะครับ
sequence(4 byte):ffffffff ส่วนนี้คือตัวกำหนดพวก lock time หรือ RBF (ffffffff คือปกติ ,fdffffff คือ RBF ส่วนพวก timelockจะเริ่มจาก 00000000 และเปลี่ยนลำดับที่ 2 ตามจำนวน block ที่ต้องการเช่น 3 block ก็ 03000000)
input count:02 ธุรกรรมนี้มี 2 output
input data: ในส่วนนี้แบ่งเป็น 3 ส่วนของแต่ละ output ดังนี้
output 1
amount(Little Endian 8 Byte): 0014df200f000000 (64,976,000,000 sat) *รวยเกิ้นนน
ScriptPubKey Size: 19
ScriptPubKey: 76a914ead1471151871931cfe3ed41beb99662f4248d1288ac
output 2
amount(Little Endian 8 Byte): 40420f0000000000 (1,000,000 sat)
ScriptPubKey Size: 19
ScriptPubKey: 76a9146abb64c4751ede732ba3a584de223dbd8989531288ac
time lock: 00000000
โดยคร่าว ๆ ก็ประมาณนี้ครับ ตัวอย่างอาจจะเก่าไปหน่อยแล้วเป็น P2PKH ด้วย เลยไม่ได้มีตัวอย่างในส่วนที่ใช้กันบน segwit อย่าง maker, flag, witness ให้แต่เนื่องจากความยาวพอสมควรแล้วผมขอติดไว้ก่อนแล้วกันนะครับ
#siamstr
ธุรกรรมของบิตคอยน์คือสิ่งที่เกิดขึ้นทุกครั้งที่เราทำการส่งบิตคอยน์ ไม่ว่าจะส่งไปให้คนอื่น หรือแค่ทำสังคายนา utxo ของตัวเองก็ตาม ถ้าให้ว่ากันง่าย ๆ จริง ๆ แล้ว ธุรกรรมของบิตคอยน์ก็แค่ชุดข้อมูลจำนวนหนึ่งที่เอาไว้แค่ล๊อคบิตคอยน์และปลดล๊อคบิตคอยน์ โดยในธุรกรรมจะแบ่งส่วนหลัก ๆ 2 part คือ ขาเข้า(input): เลือกบิตคอยน์ที่เราต้องการปลดล๊อค, ขาออก(output): เอาบิตคอยน์จาก input ไปล๊อคไว้ที่ไหนต่อ และแน่นอนว่าในแต่ละธุรกรรมนั้นจำนวน input และ output นั้นสามารถมีได้มากกว่า 1
โอเคทีนี้เรามาลองดูตัวอย่าง transaction กัน
(ตัวอย่างจาก 1de09872f8726ab057e8b116faf55d0e502acbe8ff94b8025a40105a85218140 // Height 114,932)
tx data: 0100000001c3756a5279ed61735f5ab085f6e10b3f36423020cd4746876dd353ec610cf52c000000008b4830450221008c5730e8dd9509275ab6b8172c9dcfb74b98c855b328cce8b539701755875a53022055caafcff30d19e5fa28b671a37f00704ef8daac0ef06ba35696650850b820bb01410456ee2d5b710bce0e7ce5fd15c47c4021495ad9109a544ffcf7ecd2b049fe98f168ba973c161fa3cdffb1df4d0f208a576a45dea6cbc2b20a48cfc0a588a5b2afffffffff020014df200f0000001976a914ead1471151871931cfe3ed41beb99662f4248d1288ac40420f00000000001976a9146abb64c4751ede732ba3a584de223dbd8989531288ac00000000
ทีนี้เรามาลองชำแหละธุรกรรมนี้กัน ในธุรกรรมนี้มีส่วนประกอบดังนี้: version, input count, input data, output count, output data, และ time lock ดูข้อความด้านล่างนี้ประกอบเอานะครับ
version(4 byte): 01000000
input count: 01 แปลว่าธุรกรรมนี้มี 1 input
input data: ในส่วนนี้แบ่งเป็น 5 ส่วนของแต่ละ input ดังนี้
TXID(32 byte):c3756a5279ed61735f5ab085f6e10b3f36423020cd4746876dd353ec610cf52c
VOUT(4 byte):00000000
ScriptSig Size:8b
ScriptSig:4830450221008c5730e8dd9509275ab6b8172c9dcfb74b98c855b328cce8b539701755875a53022055caafcff30d19e5fa28b671a37f00704ef8daac0ef06ba35696650850b820bb01410456ee2d5b710bce0e7ce5fd15c47c4021495ad9109a544ffcf7ecd2b049fe98f168ba973c161fa3cdffb1df4d0f208a576a45dea6cbc2b20a48cfc0a588a5b2af
* ตรงนี้มันคือ OP_PUSHBYTES_72 กับ OP_PUSHBYTES_65 ไว้เขียนวันหลังนะครับ
sequence(4 byte):ffffffff ส่วนนี้คือตัวกำหนดพวก lock time หรือ RBF (ffffffff คือปกติ ,fdffffff คือ RBF ส่วนพวก timelockจะเริ่มจาก 00000000 และเปลี่ยนลำดับที่ 2 ตามจำนวน block ที่ต้องการเช่น 3 block ก็ 03000000)
input count:02 ธุรกรรมนี้มี 2 output
input data: ในส่วนนี้แบ่งเป็น 3 ส่วนของแต่ละ output ดังนี้
output 1
amount(Little Endian 8 Byte): 0014df200f000000 (64,976,000,000 sat) *รวยเกิ้นนน
ScriptPubKey Size: 19
ScriptPubKey: 76a914ead1471151871931cfe3ed41beb99662f4248d1288ac
output 2
amount(Little Endian 8 Byte): 40420f0000000000 (1,000,000 sat)
ScriptPubKey Size: 19
ScriptPubKey: 76a9146abb64c4751ede732ba3a584de223dbd8989531288ac
time lock: 00000000
โดยคร่าว ๆ ก็ประมาณนี้ครับ ตัวอย่างอาจจะเก่าไปหน่อยแล้วเป็น P2PKH ด้วย เลยไม่ได้มีตัวอย่างในส่วนที่ใช้กันบน segwit อย่าง maker, flag, witness ให้แต่เนื่องจากความยาวพอสมควรแล้วผมขอติดไว้ก่อนแล้วกันนะครับ
#siamstr