ตฤณ : Invest & Trade Campus on Nostr: ...
จิตวิทยาสายเม่า EP.6 Illusion of Knowledge
Illusion of Knowledge หรือ ภาพลวงตาแห่งความรู้ คือ อคติทางความคิดที่เกิดขึ้นเมื่อคนเชื่อว่าตนเองรู้หรือเข้าใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งดีพอ อคตินี้เกิดจากความมั่นใจเกินจริงในระดับความรู้ของตนเอง และอาจทำให้การตัดสินใจหรือข้อสรุปผิดพลาดได้โดยไม่รู้ตัว คล้ายๆ Dunning-Kruger effect ที่ตฤณชอบเรียกว่า หมูไม่กลัวน้ำร้อน
ลักษณะของ Illusion of Knowledge
1.เชื่อว่ารู้ทั้งหมด : เช่น อ่านบทความสั้นๆ และคิดว่าครอบคลุมเนื้อหาในเรื่องนั้นทั้งหมด
2.การอนุมานผิดพลาด : เช่น อ่านสรุป เเต่คิดว่าตัวเองรู้ทั้งหมด / เข้าใจพื้นฐานของแนวคิดใดแนวคิดหนึ่งและคิดว่าสามารถนำไปใช้กับสถานการณ์ซับซ้อนได้
3.ความตื่นเต้นกับข้อมูลใหม่ (Novelty Bias) : เห็นข่าวใหม่แล้วเชื่อทันทีว่าข้อมูลนั้นเป็นความจริงที่สมบูรณ์
ตัวอย่างของ Illusion of Knowledge
- นักลงทุนอ่านรายงานผลประกอบการของบริษัทและคิดว่าเพียงพอจะทำให้เข้าใจศักยภาพระยะยาวของบริษัท ทั้งที่ไม่ได้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก เช่น กลยุทธ์ธุรกิจ การแข่งขันในอุตสาหกรรม
- คนวิดีโอสั้นบน YouTube แล้วเชื่อว่าตนเองเข้าใจหัวข้อที่ซับซ้อน เช่น ควอนตัมฟิสิกส์ หรือเศรษฐศาสตร์
วิธีป้องกัน Illusion of Knowledge
- ยอมรับว่าตัวไม่รู้
- ไม่หยุดที่คำตอบเเรกของคำถาม
- ทดสอบตัวเองด้วย Feynman Technique หรือ อธิบายให้ผู้อื่นฟังได้ง่ายๆหรือไม่ ถ้าไม่ เเสดงว่าเราอาจจะยังรู้ไม่จริง
ในโลกที่ข้อมูลไหลเข้าหาเราอย่างมหาศาล การระมัดระวังที่จะไม่มั่นใจในความรู้มากเกินไป และแสวงหาความเข้าใจที่แท้จริงจะช่วยลดข้อผิดพลาดในการตัดสินใจ และเพิ่มความสามารถในการพัฒนาตนเองอย่างยั่งยืน
#siamstr #psychologyoftrade
Published at
2025-01-04 05:36:18Event JSON
{
"id": "97e0af7479e620235785395824f8e7d342be874d61982f6f3854dc8ab63c5f30",
"pubkey": "d1235be01e042a99094e4348a3ecb679ec2e0ec3d729c9540d63f5c4319d58e5",
"created_at": 1735968978,
"kind": 1,
"tags": [
[
"t",
"siamstr"
],
[
"t",
"psychologyoftrade"
],
[
"imeta",
"url https://image.nostr.build/e74bb767702b49802799f8f117387cb896a6c77af5abf69f7ec3dbbb28ff3bda.jpg",
"ox e74bb767702b49802799f8f117387cb896a6c77af5abf69f7ec3dbbb28ff3bda",
"x 38774c765a65345cb9bc2d7e469d53bb853bb34f8f104a375a03c54617762c6e",
"m image/jpeg",
"dim 1024x1024",
"bh L9BWuc8w4T~q.8D%V@?b00%g%gDj",
"blurhash L9BWuc8w4T~q.8D%V@?b00%g%gDj",
"thumb https://image.nostr.build/thumb/e74bb767702b49802799f8f117387cb896a6c77af5abf69f7ec3dbbb28ff3bda.jpg"
]
],
"content": "https://image.nostr.build/e74bb767702b49802799f8f117387cb896a6c77af5abf69f7ec3dbbb28ff3bda.jpg\n\nจิตวิทยาสายเม่า EP.6 Illusion of Knowledge\n\nIllusion of Knowledge หรือ ภาพลวงตาแห่งความรู้ คือ อคติทางความคิดที่เกิดขึ้นเมื่อคนเชื่อว่าตนเองรู้หรือเข้าใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งดีพอ อคตินี้เกิดจากความมั่นใจเกินจริงในระดับความรู้ของตนเอง และอาจทำให้การตัดสินใจหรือข้อสรุปผิดพลาดได้โดยไม่รู้ตัว คล้ายๆ Dunning-Kruger effect ที่ตฤณชอบเรียกว่า หมูไม่กลัวน้ำร้อน\n\nลักษณะของ Illusion of Knowledge\n1.เชื่อว่ารู้ทั้งหมด : เช่น อ่านบทความสั้นๆ และคิดว่าครอบคลุมเนื้อหาในเรื่องนั้นทั้งหมด\n2.การอนุมานผิดพลาด : เช่น อ่านสรุป เเต่คิดว่าตัวเองรู้ทั้งหมด / เข้าใจพื้นฐานของแนวคิดใดแนวคิดหนึ่งและคิดว่าสามารถนำไปใช้กับสถานการณ์ซับซ้อนได้\n3.ความตื่นเต้นกับข้อมูลใหม่ (Novelty Bias) : เห็นข่าวใหม่แล้วเชื่อทันทีว่าข้อมูลนั้นเป็นความจริงที่สมบูรณ์\n\nตัวอย่างของ Illusion of Knowledge\n- นักลงทุนอ่านรายงานผลประกอบการของบริษัทและคิดว่าเพียงพอจะทำให้เข้าใจศักยภาพระยะยาวของบริษัท ทั้งที่ไม่ได้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก เช่น กลยุทธ์ธุรกิจ การแข่งขันในอุตสาหกรรม\n- คนวิดีโอสั้นบน YouTube แล้วเชื่อว่าตนเองเข้าใจหัวข้อที่ซับซ้อน เช่น ควอนตัมฟิสิกส์ หรือเศรษฐศาสตร์\n\nวิธีป้องกัน Illusion of Knowledge\n- ยอมรับว่าตัวไม่รู้\n- ไม่หยุดที่คำตอบเเรกของคำถาม\n- ทดสอบตัวเองด้วย Feynman Technique หรือ อธิบายให้ผู้อื่นฟังได้ง่ายๆหรือไม่ ถ้าไม่ เเสดงว่าเราอาจจะยังรู้ไม่จริง\n\nในโลกที่ข้อมูลไหลเข้าหาเราอย่างมหาศาล การระมัดระวังที่จะไม่มั่นใจในความรู้มากเกินไป และแสวงหาความเข้าใจที่แท้จริงจะช่วยลดข้อผิดพลาดในการตัดสินใจ และเพิ่มความสามารถในการพัฒนาตนเองอย่างยั่งยืน\n\n#siamstr #psychologyoftrade",
"sig": "1be74741d17132fc6adc064ff4438dff4591f05f2e5d8bdaf912cbaee8d6009756c9de6ed945f89faf2459b71ddffc96604e47423e6159439fabbf642d74c150"
}