JohnnyJun on Nostr: GM #siamstr ตอนเที่ยงๆไทยครับ ...
GM #siamstr ตอนเที่ยงๆไทยครับ
วันนี้ผมอยากมาแชร์อะไรไม่สั้นไม่ยาว เกี่ยวกับเรื่อง งานวิจัย การเงิน ของมหาลัยในโลก FIAT เกี่ยวกับงานวิจัยเชิงการแพทย์ ที่เรียกว่า Randomized Controlled Trial (RCT) ซึ่งเป็นงานวิจัยในระดับสูงสุดของทางการแพทย์ที่มักจะทำในผู้ป่วยจริง และมีการ random ผู้เข้าร่วม และ Control ปัจจัยต่างๆ จนน่าเชื่อถือที่สุด
ทำ RCT ด้วยเงินสิบกว่าล้าน แพงมากกก? 🤣 กับข้อสงสัยว่าแล้วที่ไทยเราจะเอาเงินที่ไหนมาสู้เขา และมหาลัยใน UK ถ้าเขาตลาดหุ้นไทยน่าจะใหญ่ประมาณไหน ?? (ขอตามเทรนด์ ไทยงานวิจัยเยอะจนผิดสังเกต)
-> เมื่อวานนี้ได้เรียนเรื่อง การทำวิจัยทางคลินิก (Clinical Trials) ด้วยการใช้ EHR (Electronic Health Records) หรือก็คือโปรแกรมที่เราใช้ตรวจรักษากันในชีวิตประจำวัน
ด้วยความที่ผมไม่เคยมีส่วนร่วมในการทำ Clinical Trial เลย เลยไม่เคยรู้เลยว่ามันมีค่าใช้จ่ายอะไรยังไง และผมเปิดสไลด์ดูก่อนคร่าวๆก่อนเรียน ก็พบกับ slide ที่บอกว่า การทำ Randomized Controlled Trial โดยใช้ EHR อันนึงมีค่าใช้จ่ายที่ 3แสนปอนด์ ในใจก็คิดว่า เชี่ย โคตรรรรรแพงเลย ตีเป็นเงินไทยสิบกว่าล้านนนน
แต่พอเขาสอนมาถึงสไลด์นี้ ผมช้อค เพราะคนสอนเขาบอกว่า เห็นไหมทุกคน มันถูกมากกกกกกก 555555555
-> วันนี้เลยลองเซิชดูว่าค่าใช้จ่ายในการทำ RCT มันเท่าไหร่กัน ก็เจองานวิจัยที่พูดถึงเรื่องนี้หลายฉบับ แต่ส่วนใหญ่ก็พูดตรงกันว่าประเมินแน่นอนไม่ได้ งานวิจัยมักไม่บอกตรงๆ แต่ก็พอหาข้อมูลได้ว่า
ในปี 2005 ใน UK ค่าเฉลี่ยของเงินที่ใช้ทำ RCT ต่อโปรเจคคือ 1,200,000 ปอนด์ ตีเป็นเงินไทยปัจจุบันก็ 50-60ล้าน อันนี้คือเมื่อ 18ปีก่อน ก่อนที่เงินจะเฟ้อกันมากๆซะด้วย
ส่วนในปี 2018 ก็มีคนทำ Systematic review ไว้ว่าค่าเฉลี่ยในการทำ RCT คิดเป็นต่อคนไข้ 1 คน ที่ Recruit เข้ามาอยู่ที่ 409 Usd (range 41-6990 usd) หรือก็คือประมาณ 14000 thai B ต่อหัว เลยทีเดียว
และมีอีกหนึ่งเปเปอร์ที่ดูว่า ค่าใช้จ่ายในขั้นตอนการ"เตรียม"โปรเจค RCT ในสวิสแลนด์ มีค่าใช้จ่ายอยุ่ที่ราวๆ หมื่นเหรียญสหรัฐ หรือก็คือ แค่ขั้นตอนการเตรียม งานแอดมิน เตรียมโปรเจค ทำ conceptualization ก็ ฟาดไปราวๆ 2 ล้านไทยซะแล้ว
ผมอ่านดังนี้แล้วก้เกิดข้อสงสัยว่า แล้วมหาลัยในไทยเราจะทำวิจัยสู้ต่างชาติได้อย่างไร ถ้างบประมาณทำวิจัยแต่ละเรื่องมันเยอะขนาดนี้ 🙁 มาที่นี่แปปเดียวก็พอจะสัมผัสได้ว่าเงินทุนที่ไหลเข้ามาเพื่อวิจัยของที่นี่มันเยอะมากๆ แบบคนละโลกกับเงินทุนของบ้านเราเลย ....
-> ถ้ามองต่อในมุมมองที่มหาลัยจะหาเงินเองได้ ผมดูข้อมูลของที่นี่แล้วอึ้ง อย่างเช่น UCL เอง ในปี 2020-2021 มีรายได้รวม (ค่าเทอม ทุนวิจัย และงบอื่นๆ) คือ 1.75 Billion GBP หรือราวๆ 7.8หมื่นล้ายไทย หรือถ้าเป็น Oxford ปีทืี่ผ่านมาก้มีรายได้ทั้งหมด 2.78 Biliion GBP หรือก็คือ เกินกว่าแสนล้านไทย เลยทีเดียว เรียกได้ว่ามหาลัยพวกนี้ ถ้าไปอยู่ไทย อยู่ในตลาดหุ้นน่าจะระดับ Set50 สบายๆ เพราะ Global House ปีก่อน ก็มีรายได้อยู่ที่ 3.5หมื่น ล้านเท่านั้นเอง น้อยกว่าสองมหาลัยที่ผมกล่าวมาซะอีก 😭
แต่จะว่าไปผมเปิดดูรายได้สุทธิของ จุฬาก็ไม่น้อยเลยอยุ่ที่ 2หมื่นล้าน และของ มข เองก็ราวๆ 1.7หมื่นล้าน จริงๆก็คงจะมีปัจจัยอิ่นอีกมากนอกจากเรื่องรายได้ 🤔
การศึกษา การวิจัย สุดท้ายก็หนีไม่พ้นโลกทุนนิยม เงินมางานเกิด ยังคงเป็นจริงเสมอ
วันนี้ผมอยากมาแชร์อะไรไม่สั้นไม่ยาว เกี่ยวกับเรื่อง งานวิจัย การเงิน ของมหาลัยในโลก FIAT เกี่ยวกับงานวิจัยเชิงการแพทย์ ที่เรียกว่า Randomized Controlled Trial (RCT) ซึ่งเป็นงานวิจัยในระดับสูงสุดของทางการแพทย์ที่มักจะทำในผู้ป่วยจริง และมีการ random ผู้เข้าร่วม และ Control ปัจจัยต่างๆ จนน่าเชื่อถือที่สุด
ทำ RCT ด้วยเงินสิบกว่าล้าน แพงมากกก? 🤣 กับข้อสงสัยว่าแล้วที่ไทยเราจะเอาเงินที่ไหนมาสู้เขา และมหาลัยใน UK ถ้าเขาตลาดหุ้นไทยน่าจะใหญ่ประมาณไหน ?? (ขอตามเทรนด์ ไทยงานวิจัยเยอะจนผิดสังเกต)
-> เมื่อวานนี้ได้เรียนเรื่อง การทำวิจัยทางคลินิก (Clinical Trials) ด้วยการใช้ EHR (Electronic Health Records) หรือก็คือโปรแกรมที่เราใช้ตรวจรักษากันในชีวิตประจำวัน
ด้วยความที่ผมไม่เคยมีส่วนร่วมในการทำ Clinical Trial เลย เลยไม่เคยรู้เลยว่ามันมีค่าใช้จ่ายอะไรยังไง และผมเปิดสไลด์ดูก่อนคร่าวๆก่อนเรียน ก็พบกับ slide ที่บอกว่า การทำ Randomized Controlled Trial โดยใช้ EHR อันนึงมีค่าใช้จ่ายที่ 3แสนปอนด์ ในใจก็คิดว่า เชี่ย โคตรรรรรแพงเลย ตีเป็นเงินไทยสิบกว่าล้านนนน
แต่พอเขาสอนมาถึงสไลด์นี้ ผมช้อค เพราะคนสอนเขาบอกว่า เห็นไหมทุกคน มันถูกมากกกกกกก 555555555
-> วันนี้เลยลองเซิชดูว่าค่าใช้จ่ายในการทำ RCT มันเท่าไหร่กัน ก็เจองานวิจัยที่พูดถึงเรื่องนี้หลายฉบับ แต่ส่วนใหญ่ก็พูดตรงกันว่าประเมินแน่นอนไม่ได้ งานวิจัยมักไม่บอกตรงๆ แต่ก็พอหาข้อมูลได้ว่า
ในปี 2005 ใน UK ค่าเฉลี่ยของเงินที่ใช้ทำ RCT ต่อโปรเจคคือ 1,200,000 ปอนด์ ตีเป็นเงินไทยปัจจุบันก็ 50-60ล้าน อันนี้คือเมื่อ 18ปีก่อน ก่อนที่เงินจะเฟ้อกันมากๆซะด้วย
ส่วนในปี 2018 ก็มีคนทำ Systematic review ไว้ว่าค่าเฉลี่ยในการทำ RCT คิดเป็นต่อคนไข้ 1 คน ที่ Recruit เข้ามาอยู่ที่ 409 Usd (range 41-6990 usd) หรือก็คือประมาณ 14000 thai B ต่อหัว เลยทีเดียว
และมีอีกหนึ่งเปเปอร์ที่ดูว่า ค่าใช้จ่ายในขั้นตอนการ"เตรียม"โปรเจค RCT ในสวิสแลนด์ มีค่าใช้จ่ายอยุ่ที่ราวๆ หมื่นเหรียญสหรัฐ หรือก็คือ แค่ขั้นตอนการเตรียม งานแอดมิน เตรียมโปรเจค ทำ conceptualization ก็ ฟาดไปราวๆ 2 ล้านไทยซะแล้ว
ผมอ่านดังนี้แล้วก้เกิดข้อสงสัยว่า แล้วมหาลัยในไทยเราจะทำวิจัยสู้ต่างชาติได้อย่างไร ถ้างบประมาณทำวิจัยแต่ละเรื่องมันเยอะขนาดนี้ 🙁 มาที่นี่แปปเดียวก็พอจะสัมผัสได้ว่าเงินทุนที่ไหลเข้ามาเพื่อวิจัยของที่นี่มันเยอะมากๆ แบบคนละโลกกับเงินทุนของบ้านเราเลย ....
-> ถ้ามองต่อในมุมมองที่มหาลัยจะหาเงินเองได้ ผมดูข้อมูลของที่นี่แล้วอึ้ง อย่างเช่น UCL เอง ในปี 2020-2021 มีรายได้รวม (ค่าเทอม ทุนวิจัย และงบอื่นๆ) คือ 1.75 Billion GBP หรือราวๆ 7.8หมื่นล้ายไทย หรือถ้าเป็น Oxford ปีทืี่ผ่านมาก้มีรายได้ทั้งหมด 2.78 Biliion GBP หรือก็คือ เกินกว่าแสนล้านไทย เลยทีเดียว เรียกได้ว่ามหาลัยพวกนี้ ถ้าไปอยู่ไทย อยู่ในตลาดหุ้นน่าจะระดับ Set50 สบายๆ เพราะ Global House ปีก่อน ก็มีรายได้อยู่ที่ 3.5หมื่น ล้านเท่านั้นเอง น้อยกว่าสองมหาลัยที่ผมกล่าวมาซะอีก 😭
แต่จะว่าไปผมเปิดดูรายได้สุทธิของ จุฬาก็ไม่น้อยเลยอยุ่ที่ 2หมื่นล้าน และของ มข เองก็ราวๆ 1.7หมื่นล้าน จริงๆก็คงจะมีปัจจัยอิ่นอีกมากนอกจากเรื่องรายได้ 🤔
การศึกษา การวิจัย สุดท้ายก็หนีไม่พ้นโลกทุนนิยม เงินมางานเกิด ยังคงเป็นจริงเสมอ