BossMan on Nostr: จุดประสงค์ของศาสนาพุทธคือ ...
จุดประสงค์ของศาสนาพุทธคือ มุ่งไปที่การดับทุกข์ครับ อันไหนไม่เกี่ยวกับการดับทุกข์ก็คือไม่ใช่ ยกตัวอย่างเช่น เรื่อง อะตอม อันนี้คือ สายสสารนิยม ถ้าไปเรื่องจิตเรื่องวิญญาณ
อันนี้ก็สุดโต้งไป ไม่ใช่พุทธมันคือ สายจิตนิยม ศาสนาพุทธเดิม คือสิ่งที่ อยู่ตรงกลางไม่สุดโต่ง แต่ก็ไม่ได้ปฎิเสธศาสตร์อื่นว่าไม่จริง แต่พระพุทธเจ้าจะไม่สอนสิ่งที่คลุมเครือ เรื่องที่ยังไม่เข้าใจ สังเกตไม่ได้ มองไม่เห็น หรือ
ไม่ปรากฎต่ออายตนะ คำสอนของพระพุทธเจ้ามักจะเป็น เหตุผลครึ่งหนึ่ง อารมณ์ครึ่งหนึ่ง ยกตัวอย่างเช่นความ ทุกข์ สิ่งนี้เรามองไม่เห็น
ด้วยตา แต่เราทุกคนก็รับรู้ผ่านความรู้สึกที่เกิดขึ้นกับเราใช่ไหม ว่ามันมีอยู่จริงๆ หรือคนอื่นก็มี อันนี้และคืออารมณ์ที่ปรากฎต่ออายตนะ ตัวอย่างต่อมา เช่น เกิดแก่ เจ็บ ตาย อันนี้คือความไม่เที่ยง ไม่จำเป็นต้องสืบเพราะมันเป็นสิ่งที่ปรากฎต่อสายตาเราทุกคน ทุกคนมองเห็นและรับรู้เช่นเดียวกัน ว่าโลกนี้มีคนเกิด คนแก่ คนเจ็บ คนตาย แนวคิดนี้แหละคือการสอนสมัยยุคพุทธกาล
กลับมาที่ศาสตร์ปัจจุบันอย่างวิทยาศาสตร์ที่เป็นศาสตร์สมัยใหม่(Pure Knowledge)
ถามว่าปัจจุบันมันก็มีหลายสิ่งที่ถูกค้นพบว่ามีอยู่จริงๆ หรือ เรา คนที่เกิดยุคใหม่ก็รับรู้พร้อมๆกัน ถามว่าพระพุทธเจ้าปฎิเสธไหม ก็ไม่ เพราะพระพุทธเจ้าจะไม่ฟันธงไปเรื่อยแบบ หมอ ร...ฟันธง แต่จะตั้งคำถามว่าถ้ารู้แล้วเรื่องนั้นเอาไปใช้ประโยชน์เพื่อช่วยดับทุกข์ได้ไหม ถ้ามันไม่เกี่ยว แก่ก็จะบอกว่างั้นจะรู้ไปทำไม อันนี้แหละคือหัวใจสำคัญ ว่าทำไมทางสายกลางที่พูดต่อๆกันมาเป็นนกแก้วนกขุนทอง
มันคือแบบนี้ ยกตัวอย่างง่ายๆ เช่น สมมุติว่าพระพุทธเจ้าจะหาความรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยตั้งมั่นว่า ตถาคตจะหาความรู้เรื่องนี้เพราะจะเอาความรู้นี้ไปเเลกเปลี่ยนกับผู้อื่นเพื่อให้ได้มาซึ่ง Bitcoin ที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นเวลาพระพุทธเจ้าจะศึกษาหรืออ่านหนังสืออะไรสักเล่ม คำถามแรกที่แก่จะถามกับตัวเอง แก่จะพูดว่า
ถ้าตถาคตอ่านหนังสือหรือศึกษาเรื่องนี้เพิ่ม ตถาคตจะได้ Bitcoin ในกระเป๋าเพิ่มไหม?
ผมมองว่าพระพุทธเจ้าแก่เป็นคนแนวนี้ครับ
ดังนั้นอันไหนไม่เกี่ยวกับทุกข์แก่จะไม่สนใจ
แก่จะมุ่งไปที่แก่นของสิ่งๆนั้นมากกว่ามานั่ง
ฟันธง ว่าอะไรจริงไม่จริง มีหรือไม่มี เพราะถ้าแก่ไปบอกว่าอะไรมีหรือไม่มี ถ้าสิ่งนั้นมันไม่ได้ปรากฎหรือสังเกตได้ด้วยอายตนะ คนที่มาถามพระพุทธเจ้าก็จะถามต่อว่า
ไหน?ไอ้สิ่งที่พระพุทธเจ้าว่ามาเนี่ย
มันมีงานวิจัยรองรับไหมผมขอดูหน่อยแบบนี้เป็นต้น #Siamstr
อันนี้ก็สุดโต้งไป ไม่ใช่พุทธมันคือ สายจิตนิยม ศาสนาพุทธเดิม คือสิ่งที่ อยู่ตรงกลางไม่สุดโต่ง แต่ก็ไม่ได้ปฎิเสธศาสตร์อื่นว่าไม่จริง แต่พระพุทธเจ้าจะไม่สอนสิ่งที่คลุมเครือ เรื่องที่ยังไม่เข้าใจ สังเกตไม่ได้ มองไม่เห็น หรือ
ไม่ปรากฎต่ออายตนะ คำสอนของพระพุทธเจ้ามักจะเป็น เหตุผลครึ่งหนึ่ง อารมณ์ครึ่งหนึ่ง ยกตัวอย่างเช่นความ ทุกข์ สิ่งนี้เรามองไม่เห็น
ด้วยตา แต่เราทุกคนก็รับรู้ผ่านความรู้สึกที่เกิดขึ้นกับเราใช่ไหม ว่ามันมีอยู่จริงๆ หรือคนอื่นก็มี อันนี้และคืออารมณ์ที่ปรากฎต่ออายตนะ ตัวอย่างต่อมา เช่น เกิดแก่ เจ็บ ตาย อันนี้คือความไม่เที่ยง ไม่จำเป็นต้องสืบเพราะมันเป็นสิ่งที่ปรากฎต่อสายตาเราทุกคน ทุกคนมองเห็นและรับรู้เช่นเดียวกัน ว่าโลกนี้มีคนเกิด คนแก่ คนเจ็บ คนตาย แนวคิดนี้แหละคือการสอนสมัยยุคพุทธกาล
กลับมาที่ศาสตร์ปัจจุบันอย่างวิทยาศาสตร์ที่เป็นศาสตร์สมัยใหม่(Pure Knowledge)
ถามว่าปัจจุบันมันก็มีหลายสิ่งที่ถูกค้นพบว่ามีอยู่จริงๆ หรือ เรา คนที่เกิดยุคใหม่ก็รับรู้พร้อมๆกัน ถามว่าพระพุทธเจ้าปฎิเสธไหม ก็ไม่ เพราะพระพุทธเจ้าจะไม่ฟันธงไปเรื่อยแบบ หมอ ร...ฟันธง แต่จะตั้งคำถามว่าถ้ารู้แล้วเรื่องนั้นเอาไปใช้ประโยชน์เพื่อช่วยดับทุกข์ได้ไหม ถ้ามันไม่เกี่ยว แก่ก็จะบอกว่างั้นจะรู้ไปทำไม อันนี้แหละคือหัวใจสำคัญ ว่าทำไมทางสายกลางที่พูดต่อๆกันมาเป็นนกแก้วนกขุนทอง
มันคือแบบนี้ ยกตัวอย่างง่ายๆ เช่น สมมุติว่าพระพุทธเจ้าจะหาความรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยตั้งมั่นว่า ตถาคตจะหาความรู้เรื่องนี้เพราะจะเอาความรู้นี้ไปเเลกเปลี่ยนกับผู้อื่นเพื่อให้ได้มาซึ่ง Bitcoin ที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นเวลาพระพุทธเจ้าจะศึกษาหรืออ่านหนังสืออะไรสักเล่ม คำถามแรกที่แก่จะถามกับตัวเอง แก่จะพูดว่า
ถ้าตถาคตอ่านหนังสือหรือศึกษาเรื่องนี้เพิ่ม ตถาคตจะได้ Bitcoin ในกระเป๋าเพิ่มไหม?
ผมมองว่าพระพุทธเจ้าแก่เป็นคนแนวนี้ครับ
ดังนั้นอันไหนไม่เกี่ยวกับทุกข์แก่จะไม่สนใจ
แก่จะมุ่งไปที่แก่นของสิ่งๆนั้นมากกว่ามานั่ง
ฟันธง ว่าอะไรจริงไม่จริง มีหรือไม่มี เพราะถ้าแก่ไปบอกว่าอะไรมีหรือไม่มี ถ้าสิ่งนั้นมันไม่ได้ปรากฎหรือสังเกตได้ด้วยอายตนะ คนที่มาถามพระพุทธเจ้าก็จะถามต่อว่า
ไหน?ไอ้สิ่งที่พระพุทธเจ้าว่ามาเนี่ย
มันมีงานวิจัยรองรับไหมผมขอดูหน่อยแบบนี้เป็นต้น #Siamstr