Tung Khempila on Nostr: Thus Spoke Zarathustra - Eternal Recurrence ...
Thus Spoke Zarathustra - Eternal Recurrence
ลองจินตนาการว่าถ้าสมมุติว่า ทุกอย่างมันเหมือนนาฬิกาทรายที่รอวันพลิกและเกิดขึ้นอีกครั้ง หากจักรวาลทำงานแบบนั้นอีกครั้ง
ผมนั่งคิดเกี่ยวกับทฤษฎีนี้สักพักซึ่งก็ได้คำตอบว่า “ทุกองค์ประกอบของโลกและมนุษย์มันไม่สามารถเอื้อมไปถึงสิ่งนั้นได้”
มันคงเป็นแนวคิดที่โคตรโหดร้าย สิ่งหนึ่งที่เมื่ออ่านใน Thus Spoke Zarathustra นั้นไม่ใช่ความว่างเปล่า แต่มันมีความหมายในทุกการกระทำ มิใช่การคิดเพียงตรรกะที่บอกว่า โลกนี้ตั้งขึ้นเพื่อดับสูญ แม้แต่การคิดแบบสติ ก็จะดับสูญแต่มีสติเพียงเพื่อความอยู่รอด
ความสวยงามนั้นเกิดขึ้นจากการดื่มด่ำและมอมเมากับสิ่งที่มีความสำคัญสำหรับตัวของปัจเจก ซึ่งจะถูกมองและให้คุณค่าทางอัตวิสัย
ดังนั้นสิ่งที่เรียกว่า การเกิดซ้ำจะเป็นสิ่งที่ดูกว้างกว่าการเกิดสิ่งที่เรียกว่า เกิดขึ้น ตั้งอยู่และ ดับไป เพราะคุณค่าและความหมายมันกำหนดโดยตัวของปัจเจกเอง ดังนั้นการคิดให้ถึงแก่นของความหมายในการกระทำและจิตวิญญาณจึงเป็นสิ่งหนึ่งที่ตอบสนองการดำรงค์อยู่ มากกว่า แค่ความเชื่อทางธรรมชาติสมัยบรรพกาล
มนุษย์นั้นมีเพียงความคิดที่ให้ตรรกะกับการกะทำและความหมาย ซึ่งกันและกัน แต่ไม่สามารถให้ความเท่าเทียมรวมถึงความเสมอภาค ในเชิงการดำรงค์อยู่ได้ ณ ขณะนั้น
มันเป็นสภาวะที่มนุษย์นั่นดำรงค์อยู่ไว้ซึ่งความเป็น ธรรมชาติที่แท้จริง และ มิได้บิดเบี้ยวด้วยตรรกะทางศาสนา ใด ศาสนาหนึ่ง
🤯🤯🤯🤯
ลองจินตนาการว่าถ้าสมมุติว่า ทุกอย่างมันเหมือนนาฬิกาทรายที่รอวันพลิกและเกิดขึ้นอีกครั้ง หากจักรวาลทำงานแบบนั้นอีกครั้ง
ผมนั่งคิดเกี่ยวกับทฤษฎีนี้สักพักซึ่งก็ได้คำตอบว่า “ทุกองค์ประกอบของโลกและมนุษย์มันไม่สามารถเอื้อมไปถึงสิ่งนั้นได้”
มันคงเป็นแนวคิดที่โคตรโหดร้าย สิ่งหนึ่งที่เมื่ออ่านใน Thus Spoke Zarathustra นั้นไม่ใช่ความว่างเปล่า แต่มันมีความหมายในทุกการกระทำ มิใช่การคิดเพียงตรรกะที่บอกว่า โลกนี้ตั้งขึ้นเพื่อดับสูญ แม้แต่การคิดแบบสติ ก็จะดับสูญแต่มีสติเพียงเพื่อความอยู่รอด
ความสวยงามนั้นเกิดขึ้นจากการดื่มด่ำและมอมเมากับสิ่งที่มีความสำคัญสำหรับตัวของปัจเจก ซึ่งจะถูกมองและให้คุณค่าทางอัตวิสัย
ดังนั้นสิ่งที่เรียกว่า การเกิดซ้ำจะเป็นสิ่งที่ดูกว้างกว่าการเกิดสิ่งที่เรียกว่า เกิดขึ้น ตั้งอยู่และ ดับไป เพราะคุณค่าและความหมายมันกำหนดโดยตัวของปัจเจกเอง ดังนั้นการคิดให้ถึงแก่นของความหมายในการกระทำและจิตวิญญาณจึงเป็นสิ่งหนึ่งที่ตอบสนองการดำรงค์อยู่ มากกว่า แค่ความเชื่อทางธรรมชาติสมัยบรรพกาล
มนุษย์นั้นมีเพียงความคิดที่ให้ตรรกะกับการกะทำและความหมาย ซึ่งกันและกัน แต่ไม่สามารถให้ความเท่าเทียมรวมถึงความเสมอภาค ในเชิงการดำรงค์อยู่ได้ ณ ขณะนั้น
มันเป็นสภาวะที่มนุษย์นั่นดำรงค์อยู่ไว้ซึ่งความเป็น ธรรมชาติที่แท้จริง และ มิได้บิดเบี้ยวด้วยตรรกะทางศาสนา ใด ศาสนาหนึ่ง
🤯🤯🤯🤯