lungkaaichaoguay on Nostr: Time preference ...
Time preference การโหยหาผลตอบแทนระยะสั้น ผู้คนไม่อยากจะเป็นคนร้ายในสายตาคนอื่น แต่ระบบการเงินที่เสื่อมมูลค่าอยู่เสมอนั้น บังคับให้ผู้คนร้ายโดยไม่รู้ตัว
อ้างอิงจาก money supply ที่ทำให้ผู้คนนั้น มี hight time preference คือโหยหาผลตอบแทนระยะสั้นสูง มองอนาคตไม่เห็น และไม่สามารถอดเปรี้ยวไว้กินหวานได้ เช่น คำกล่าวว่า ผู้คนไม่สามารถสนใจเรื่องธรรมขาติได้ เพราะแค่การเพียงสนใจว่า วันพรุ่งนี้จะต้องหาเงินจากไหนในการมีชีวิต อาจจะยาวขึ้นด้วยการว่า สัปดาห์หน้าต้องหาเงินยังไง หรือแม้แต่มนุษย์เงินเดือนที่มีเงินใช้เดือนชนเดือนนั้น แค่ชีวิตตนเอง เขาก็คงไม่มาสนใจในเรื่องราวของทรัพยากรธรรมชาติที่ กล่าวอ้างว่า โลกจะล่มสลาย ในอีก 10 20 30 ปี ที่เป็นอนาคตนั้น
ซึ่งต่างจากผู้คนที่เรื่องรู้สึกพอเพียง หรือรู้สึกว่าตัวเองเซฟแล้ว ฉันมีเงินสำรองอีก 3 เดือน 6 เดือน 1 ปี 10 ปี ความแตกต่างเหล่านี้ทำให้มุมมองการมองโลกที่แตกต่างกันไป เพราะเงินที่เสื่อมค่าอยู่เสมอ ซึ่งสามารถมองง่ายๆว่า หน่วยสตางค์ ในวันนี้ผู้คนสามารถใช้ทำอะไรได้บ้าง เมื่อเปรียบเทียบกับในอดีต ที่ชัดเจนกว่านั้น มีใครในสังคมสามารถมั่นใจได้ว่า ราคาค่าใช้จ่ายในอนาคตจะยังคงเท่าเดิมในวันนี้ ผลคือ ผู้คนจะต้องกอบโกยมากขึ้น เพื่อหาเงินมาชดเชยในส่วนที่เสื่อมมูลค่าในอนาคต กับอีกทางก็คือ ผู้คนทิ้งเงิน แล้วเก็บเวลาและพลังงานของพวกเขาในรูปแบบอื่น เช่น ที่ดิน เป็นต้น
วิธีเหล่านี้นั้นส่งผลให้ เกิดปัญหาต่างๆอย่างที่พวกเรากำลังกังวลในปัจจุบัน ที่ดินที่มีความต้องการแฝงในการรักษามูลค่าแทนเงิน การประกอบอาชีพที่ไม่สนใจใยดีอะไรเพียงเพราะฉันต้องมีเงินใช้ ในการมีชีวิต ต้นตอของปัญหาที่ทุกคนอาจจะคิดว่ามันอยู่ที่จิตสำนึก แต่แท้จริง layer 1 อาจจะเป็นการที่ระบบการเงินของสังคมโลก ออกจาก gold standard ตั้งแต่ปี 1971 ก็เป็นได้
อ้างอิงจาก money supply ที่ทำให้ผู้คนนั้น มี hight time preference คือโหยหาผลตอบแทนระยะสั้นสูง มองอนาคตไม่เห็น และไม่สามารถอดเปรี้ยวไว้กินหวานได้ เช่น คำกล่าวว่า ผู้คนไม่สามารถสนใจเรื่องธรรมขาติได้ เพราะแค่การเพียงสนใจว่า วันพรุ่งนี้จะต้องหาเงินจากไหนในการมีชีวิต อาจจะยาวขึ้นด้วยการว่า สัปดาห์หน้าต้องหาเงินยังไง หรือแม้แต่มนุษย์เงินเดือนที่มีเงินใช้เดือนชนเดือนนั้น แค่ชีวิตตนเอง เขาก็คงไม่มาสนใจในเรื่องราวของทรัพยากรธรรมชาติที่ กล่าวอ้างว่า โลกจะล่มสลาย ในอีก 10 20 30 ปี ที่เป็นอนาคตนั้น
ซึ่งต่างจากผู้คนที่เรื่องรู้สึกพอเพียง หรือรู้สึกว่าตัวเองเซฟแล้ว ฉันมีเงินสำรองอีก 3 เดือน 6 เดือน 1 ปี 10 ปี ความแตกต่างเหล่านี้ทำให้มุมมองการมองโลกที่แตกต่างกันไป เพราะเงินที่เสื่อมค่าอยู่เสมอ ซึ่งสามารถมองง่ายๆว่า หน่วยสตางค์ ในวันนี้ผู้คนสามารถใช้ทำอะไรได้บ้าง เมื่อเปรียบเทียบกับในอดีต ที่ชัดเจนกว่านั้น มีใครในสังคมสามารถมั่นใจได้ว่า ราคาค่าใช้จ่ายในอนาคตจะยังคงเท่าเดิมในวันนี้ ผลคือ ผู้คนจะต้องกอบโกยมากขึ้น เพื่อหาเงินมาชดเชยในส่วนที่เสื่อมมูลค่าในอนาคต กับอีกทางก็คือ ผู้คนทิ้งเงิน แล้วเก็บเวลาและพลังงานของพวกเขาในรูปแบบอื่น เช่น ที่ดิน เป็นต้น
วิธีเหล่านี้นั้นส่งผลให้ เกิดปัญหาต่างๆอย่างที่พวกเรากำลังกังวลในปัจจุบัน ที่ดินที่มีความต้องการแฝงในการรักษามูลค่าแทนเงิน การประกอบอาชีพที่ไม่สนใจใยดีอะไรเพียงเพราะฉันต้องมีเงินใช้ ในการมีชีวิต ต้นตอของปัญหาที่ทุกคนอาจจะคิดว่ามันอยู่ที่จิตสำนึก แต่แท้จริง layer 1 อาจจะเป็นการที่ระบบการเงินของสังคมโลก ออกจาก gold standard ตั้งแต่ปี 1971 ก็เป็นได้